“โรคชัก” ที่ส่งผลให้พัฒนาการของเด็กล่าช้า กระทบทั้งด้านการเข้าสังคม และการเรียน ดังนั้นคุณพ่อแม่ควรต้องทำความเข้าใจ “โรคลมชัก” หนึ่งอันตรายของโรคสมองในเด็ก เพื่อพร้อมรับมือได้ทันท่วงที
'ชัก' มีหลายแบบ ดังนี้
1.ชักทั่วไป
-เกร็งกระตุก
-กระตุกอย่างเดียว
-เกร็งอย่างเดียว
-หมดแรง
-ชักลอย
2.ชักระยะสั้น
-ชักเฉพาะที่ลามไปทั้งตัว ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการเตือน (aura) ก่อนจะมีอาการชักหมดสติ
-สมองส่วนที่ควบคุมการเคลื่อนไหวมีการกระตุก
-การรับรู้เหน็บชา
-สมองควบคุมการมองเห็น แสงแฟตขึ้นมา
-ชักจากไข้
-ชักจากน้ำตาลต่ำ
1.เฝ้าระวังพฤติกรรมของลูก
2.พฤติกรรมแปลก ทำอะไรซ้ำ ๆ อ่อนแรง ตาลอย
-ตรวจด้วยคลื่นสมอง
-ตรวจเลือด
-ตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า Magnetic Resonance Imaging (MRI)
1.นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ การอดนอนจะกระตุกการชัก
2.จำกัดเวลาการเล่นเกม และสื่ออุปกรณ์ออนไลน์ต่าง ๆ ช่วงเรียนออนไลน์อยู่บ้าน เด็ก ๆ มีเวลาว่างค่อยข้างเยอะ พ่อแม่ต้องดูแลเรื่องเวลาของลูก
3.ปรับการทานอาหาร สำหรับการชักที่ควบคุมได้ยาก ไขมันสูง สามารถปรับการทานอาหารแบบคีโต จะนำเข้ามารักษาผู้ป่วยชัก
4.ทานอาหารที่มีประโยชน์ สารอาหารสำคัญ โปรตีน โอเมก้า สังกะสี วิตามินบี ได้แก่ ปลาทะเล ธัญพืช ผักเขียว โฟลิตที่ช่วยบำรุงสมอง
อ้างอิง
Facebook Page : Praram 9 hospital
วันที่แพร่ภาพสด : 9 มกราคม 2564
รักลูก Community of The Experts
พญ.พวงทอง บุณยธรรมา ผู้เชี่ยวชาญกุมารเวชศาสตร์ประสาทวิทยา
โรงพยาบาลพระรามเก้า